วันจันทร์ที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2559

บันทึกครั้งที่ 9 วันจันทร์ ที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2559

บันทึกครั้งที่ 9 
วันจันทร์ ที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2559 
ความรู้ที่ได้รับ
  • บูรณาการ
  • ประดิษฐ์ของเล่นจากวัสดุเหลือใช้
       บูรณาการ คือ การจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ทั้ง 4 ด้าน มีลักษณะเชื่อมโยงศาสตร์ต่าง ๆ ตามเป้าหมายคือ ให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติเพราะเป็นวิธีการเรียนรู้ของเด็ก

ด้านสติปัญญา
1.การคิด
      1.1 สร้างสรรค์
      1.2 เหตุผล
             1.2.1 คณิต
             1.2.2 วิทย์
2.ภาษา
  • ได้ประสบการณ์
  • เกิดการเรียนรู้
  • สู่ประสบการณ์
ประดิษฐ์ของเล่นจากวัสดุเหลือใช้

1.แบ่งกลุ่ม 3 กลุ่ม กลุ่มละ 10 คน
2.เลือกวัสดุเพื่อทำของเล่น กลุ่มละ 1 ชนิด 
3.แต่ละกลุ่มประดิษฐ์ของเล่นจากวัสดุชนิดเดียวกันแต่ห้ามซ้ำกัน




"ขวด"
การประยุกต์ใช้
     สามารถนำหลักการบูรณาการมาประยุกต์กับการเรียนการสอนได้จริงในหน่วยต่าง ๆได้ตามหลักสูตร และความสนใจของเด็กได้เป็นอย่างดี และภายใน 1 วิชายังสามารถบูรณาการวิชาต่างๆ ได้หลากหลาย เด็กมีการเชื่อมโยงความรู้ สร้างพัฒนาการทั้ง 4 ด้านให้มีคุณภาพมากยิ่งชั้น

ประเมิน
ตนเอง:ได้เรียนรู้ถึงความหมายของการบูรณาการ ได้เลือกของเล่นที่จะประดิษฐ์ขึ้นเอง
เพื่อน: เพื่อนช่วยกันคิดวัสดุอุปกรณ์วางแผนการทำงาน
ครู:อาจารย์ช่วยแนะนำวัสดุอุปกรณ์ที่จะทำของเล่น และจัดเตรียมอุปกรณ์ให้อย่างดี

บันทึกครั้งที่ 8 วัน จันทร์ที่ 24 ตุลาคม 2559

บันทึกการเรียนครั้งที่ 8 
วัน จันทร์ที่ 24 ตุลาคม 2559
"หยุดชดเชยวันปิยะมหาราช"

วันศุกร์ที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2559

บันทึกครั้งที่ 7 วันจันทร์ ที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2559

บันทึกครั้งที่ 7 
วันจันทร์ ที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2559
ความรู้ที่ได้รับ

  • การประดิษฐ์สื่อจากรูปทรงเรขาคณิต
  • การออกแบบ
การออกแบบ
  • เชื่อมโยง (ส่วนใหญ่เชื่อมโยงเพราะอยู่ในชีวิตประจำวัน)
  • บอกเหตุผลได้
  • แตกต่างจากภาพเดิม
วิธีการทำ
1.แจกกระดาษ

2.จัดกลุ่ม 10 คน เลือกรูปทรงเรขาคณิตคนละ 1 รูป ห้ามซ้ำกัน




    3.ออกแบบสื่อจากเรขาคณิตที่เลือก












    4.ออกแบบสื่อ (สื่อคำศัพท์ภาษาอังกฤษ)
    สี่เหลี่ยม

    วงกลม

    หกเหลี่ยม 

    สี่เหลี่ยมผืนผ้า

    ห้าเหลี่ยม

    ทรงกรวย

    วงรี

    ทรงกระบอก

    สี่เหลี่ยมคางหมู

    สามเหลี่ยม



    5.ตัดกระดาษสี ทำเป็นรูปเรขาคณิตต่างๆ (เพิ่มตัวหลอก 2 ตัว)  แปะลงกระดาษลัง




    วัสดุ/อุปกรณ์
    1. กระดาษ A4 คนละ 1 แผ่น
    2. กระดาษแข็ง
    3. กระดาษสี
    4. กระดาษลัง
    5. กรรไกร
    6. ดินสอ
    7. ยางลม
    8. สี
    9. ปากกาเมจิก
    การประยุกต์ใช้
         สามารถบูรณาการเข้ากับวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องของรูปทรง และภาษาในเรื่องของคำศัพท์ต่างๆ และยังรวมถึงกิจกรรมศิลปะที่ให้เด็กประดิษฐ์และออกแแบบสื่อขึ้นมาด้วยตนเองและสามารถนำไปต่อยอดเป็นของเล่นสำหรับสร้างเสริมพัฒนาการได้ และยังเป็นการกระตุ้นความคิดสร้างสรรค์ต่างๆ จากประสบการณ์เดิม ผ่านการเชื่อมโยงความรู้ในรูปแบบต่าง ๆ หรือการคิดริเริ่มเด็กเกิดความภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง สร้างคุณค่า ความภาคภูมิใจให้ตัวเด็ก 

    ประเมิน
    ตนเอง:ได้ลงมือทำตามลำดับขั้นตอนการสอน ทำให้เข้าใจและนำไปปฏิบัติได้จริง
    เพื่อน: เป็นกิจกรรมกลุ่ม เพื่อนช่วยเหลือกันเป็นอย่างดี
    ครู:อาจารย์อธิบายความหมายของการทำกิจกรรมที่ได้อย่างชัดเจน เข้าใจง่าย ผ่านการปฏิบัติจริง

    วันจันทร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2559

    บันทึกครั้งที่ 6 วันจันทร์ ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2559

    บันทึกครั้งที่ 6
    วันจันทร์ ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2559
    ความรู้ที่ได้รับ
    • คุณลักษณะ
    • หลักสูตร
    • สาระการเรียน
    • ประสบการณ์สำคัญ
    • แมลงจากแกนกระดาษทิชชู่
    • เป่าสีผสมน้ำยาล้างจาน
    • ตกแต่งจานกระดาษ
    • ภาพพิมพ์ระบายสีมือ
    คุณลักษณะ

    1. คิดริเริ่ม
    2. คิดคล่องแคล่ว
    3. คิดยืดหยุ่น
    4. คิดละเอียดลออ
    5. ความคิดสร้างสรรค์
    สาระการเรียนรู้
    1. ตัวเด็ก
    2. ธรรมชาติรอบตัว
    3. สิ่งแวดล้อมรอบตัว
    ประสบการณ์สำคัญ
    1. ร่างกาย
    2. อารมณ์
    3. สังคมจิตใจ
    4. สติปัญญา

    "แมลงจากแกนกระดาษทิชชุู"




    วัสดุ/อุปกรณ์
    1. แกนกระดาษทิชชูู่
    2. กระดาษแข็ง
    3. เชือก
    4. สี
    5. กาว
    6. กรรไกร
    7. เครื่องเจาะรู


    1.ตัดแกนกระดาษทิชชู่ออกครึ่งอัน


    2.เจาะรูแกนกระดาษทิชชู่ 2 ด้าน ด้านละ 2 รู


                                        3.ตกแต่งหน้าแมลงลงบ้นกระดาษขาว ติดกาว แปะลงแกน


                                                 4.ร้อยเชือกจาก ล่างขึ้นบน และบนลงล่าง

                สามารถบูรณาการวิทยาศาสตร์ได้ในเรื่องของการเคลื่อนที่ พลังงานแฝงที่อยู่ในเส้นเชือก


    "เป่าสี"

    บูรณาการวิทยาศาสตร์โดยการเป่าสี ผสมสี เกิดสีใหม่

    วัสดุ/อุปกรณ์
    1. สีน้ำ
    2. น้ำยาล้างจาน
    3. ถาดสี
    4. หลอด
    5. กระดาษ A4
    วิธีเล่น
          ใช้หลอดจุ่มสี และเป่าลงกระดาษ 

    "ภาพพิมพ์สีจากมือ"



    ใช้มือทาสีทำเป็นผีเสื้อ และใช้กระดาษติดด้านหลังให้ผีเสื้อขยับปีกบินได้
    วัสดุอุปกรณ์

    1. สีน้ำ : เหลือง น้ำเงิน แดง
    2. พูกัน
    3. ถาดสี
    4. กระดาษ A4
    วิธีเล่น


          ใช้พูกันทาสีลงบนมือแล้วนำไปพิมพ์ลงกระดาษ A4

    "หอยจากจานกระดาษ"

    วัสดุ/อุปกรณ์

    1. จานกระดาษ
    2. สีเทียน
    3. เชือก
    4. ที่เจาะรู
    5. กรรไกร
    วิธีเล่น

          ตัดและตกแต่งจานกระดาษตามต้องการ

    การประยุกต์ใช้
           สามารถบูรณาการเข้ากับวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ได้ เช่นการตัดจานกระดาษ ในหน่วยหอย เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ และประยุกต์กับรูปทรงของจานกระดาษ ที่นำมาตัดได้ และสามารถนำไปใช้กับหน่วยต่างๆ ได้เช่น นำไปทำป่า ระบบนิเวศน์ วัฏจักรชีวิตสัตว์ กังหันลม ลูกข่างผสมสี ภาพติดตาและอื่น ๆ อีกมากมาย

    ประเมิน
    ตนเอง:กิจกรรมมีความหลากหลาย ไ่ม่น่าเบื่อ สนุกสนานมากค่ะ
    เพื่อน: เพื่อ่วมกิจกรรมอย่างตั้งใจ มีผลงานที่สวยงามและน่าสนใจมากมาย
    ครู:อาจารย์หากิจกรรมมาให้ทดลองปฏิบัติจริง และสามารถนำไปใช้ได้จริง

    วันพุธที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2559

    บันทึกครั้งที่ 5 วันจันทร์ ที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2559

    บันทึกครั้งที่ 5 
    วันจันทร์ ที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2559


    ความรู้ที่ได้รับ
    • การจัดกิจกรรม STEM STEAM
    • หน่วยยานพาหนะ
    • หน่วยปลา
    • หน่วยไข่
    • หน่วยข้าว
    • หน่วยบ้าน

     หน่วยยานพาหนะ











    หน่วยปลา



     หน่วยบ้าน


    หน่วยข้าว





    การนำไปประยุกต์ใช้
    • สามารถนำกิจกรรมต่างๆ ไปปฏิบัติจริงในการสอนเด็กได้ แต่อาจจะประยุกต์ให้เข้ากับหน่วยอื่นๆ หรือ เปลี่ยนวัสดุอุปกรณ์ ไปตามหน่วยนั้น ๆ
    ประเมินผล
    • ตนเอง : ได้ร่วมกิจกรรมหลากหลาย 
    • เพื่อน : เพื่อนตั้งใจทำผลงานของตนและช่วยกันทำงานกลุ่ม 
    • อาจารย์ : กิจกรรมมีความหลากหลายดีมากค่ะ

    บันทึกครั้งที่ 4 วันจันทร์ ที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2559

    บันทึกครั้งที่ 4 
    วันจันทร์ ที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2559